วันพุธที่ 20 กรกฎาคม พ.ศ. 2554

อัตรการเกิดปฏิกิริยาเคมี (Rate of Chemical Reactions)

 อัตรการเกิดปฏิกิริยาเคมี
    ความหมาย 
          ปริมาณสารในปฏิกิริยาที่เปลี่ยนแปลงไป ต่อหนึ่งหน่วยเวลา เราสามารถเขียนความสัมพันธ์ได้ดังนี้
 หากเรานำความรู้เกี่ยวกับอัตราเร็วของการเกิดปฏิกิริยาไปประยุกต์ใช้ จำทำให้เราสามารถเพิ่มมูลค่า การผลิตสารเคมีนั้นๆ เพื่อที่จะรองรับความต้องการที่มีปริมาณมากได้อย่างรวดเร็วขึ้น

ปัจจัยที่มีผลต่ออัตรการเกิดปฏิกิริยาเคมี

               1. ความเข้มข้น
               2. พื้นที่ผิว
               3. อุณหภูมิ
               4. ตัวเร่งปฏิกิริยาเคมี

ทฤษฎีการชน(Collision Theory)
        การชนกันนั้นก้ไม่ได้ทำให้เกิดสารผลิตภัณฑ์เสมอทุกครั้งไป หากการชนกันนั้นต้่องอาศัยการจัดตัวอย่างเหมาะสมของอนุภาค และต้องมีพลังงานมากพอ จึงสามารถเกิดปฏิกิริยานี้ได้
        พลังงานที่น้อยที่สุดที่ทำให้เกิดปฏิกิริยาเคมี เรียกว่า พลังงานก่อกัมมันต์(Activation Energy : EA)


ประเภทของพลังงาน 
               1. ปฏิกิริยาดูดความร้อน (เกิดขึ้นได้เอง)
               2. ปฏิกิริยาคายความร้อน (ใช้ไฟฟ้าเพิ่มพลังงาน)


                                                                                        คัมภีร์ดีๆ มักอยู่ก้นเหวเสมอ :O

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น